BLOG

COD สามารถทำได้หรือไม่สำหรับการส่งต่างประเทศ | SME Shipping

COD (Cash on Delivery) สำหรับการส่งสินค้าต่างประเทศ ทำได้หรือไม่?

ในทุกวันนี้ที่การขายสินค้าบนโลกออนไลน์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ผู้ให้บรการเจ้าต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดส่ง การบรรจุ และการชำระเงิน ซึ่งหนึ่งในวิธีการชำระเงินที่ได้รับความนิยมในตลาดภายในประเทศคือ “COD” ที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อว่าสินค้าจะมาถึงก่อนจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดถึงการส่งสินค้าระหว่างประเทศ/ต่างประเทศ หลายคนอาจสงสัยว่า COD ยังสามารถใช้ได้อยู่หรือไม่? แล้วมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้บ้าง? ในบทความนี้ของ SME Shipping จะพาคุณไปดูรายละเอียดของ “COD” หรือ “Cash on Delivery” ที่ควรรู้กัน

บริการเก็บเงินปลายทาง (COD) คืออะไร?

COD (Cash on Delivery) คือบริการชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า เหมาะสำหรับลูกค้าที่ต้องการความมั่นใจก่อนจ่ายเงิน โดยลูกค้าจะชำระค่าสินค้าให้กับพนักงานจัดส่ง ในขณะที่รับพัสดุที่หน้าบ้าน หรือจุดรับสินค้า ซึ่งหลังจากลูกค้าชำระเงินเรียบร้อยแล้ว บริษัทขนส่งจะดำเนินการโอนเงินกลับมายังร้านค้าหรือผู้ขายตามรอบการโอนที่กำหนดในแต่ละบริษัท

  • C = Cash = เงินสด | O = On = เมื่อ | D = Delivery = มีการจัดส่ง
  • COD (Cash on Delivery) เก็บเงินเมื่อส่งสินค้าแล้ว

เหตุผลที่ COD มักไม่ใช้กับการส่งสินค้าต่างประเทศ

แม้ว่าบริการเก็บเงินปลายทาง (COD) จะได้รับความนิยมอย่างมากในการซื้อขายภายในประเทศ เนื่องจากช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและกระตุ้นยอดขาย แต่เมื่อพูดถึงการจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ ระบบ COD กลับไม่ค่อยถูกนำมาใช้ หรือมีข้อจำกัดอย่างมาก ทั้งจากมุมมองของความปลอดภัย ความซับซ้อนด้านธุรกรรมระหว่างประเทศ และข้อกำหนดของบริษัทขนส่งระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภาษี ศุลกากร และขั้นตอนทางการเงินที่ซับซ้อนกว่าการขายภายในประเทศอย่างเห็นได้ชัด เช่น

  1. มีความเสี่ยงด้านการชำระเงินที่ผู้ให้บริการขนส่งไม่สามารถรับประกันได้ว่าผู้รับในต่างประเทศจะจ่ายเงิน
  2. มีความซับซ้อนด้านภาษีและศุลกากร สินค้าที่ส่งข้ามประเทศมักต้องผ่านด่านศุลกากร ซึ่งทำให้การจัดการ COD ยาก
  3. การโอนเงินกลับมายังผู้ขายในประเทศต้นทางอาจใช้เวลานานและมีค่าธรรมเนียมสูง
  4. บริษัทขนส่งข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่รองรับ COD เช่น FedEx, DHL, UPS หรือไปรษณีย์ไทย (เมื่อส่งระหว่างประเทศ) มักไม่มีบริการ COD

ทางเลือกที่แนะนำแทน COD สำหรับการขายสินค้าระหว่างประเทศ

  1. ชำระเงินล่วงหน้าผ่านแพลตฟอร์มที่ปลอดภัย: เช่น PayPal, Stripe, Wise, หรือการโอนผ่านธนาคาร
  2. ขายผ่านแพลตฟอร์ม E-commerce ระดับโลก: เช่น Amazon, eBay, Etsy, Shopee Global ที่มีระบบคุ้มครองทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
  3. ใช้บริการ Payment Gateway ที่รองรับหลายสกุลเงิน: เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ข้อดีของบริการ COD

  • ลูกค้า มั่นใจ ว่าจะได้รับสินค้าก่อนจ่ายเงิน
  • เหมาะกับลูกค้าที่ ไม่มีบัตรเครดิต/เดบิต หรือไม่สะดวกโอนเงิน

ข้อเสียของบริการ COD

  •  มีความเสี่ยงที่ลูกค้า ปฏิเสธรับของ หรือ ไม่ชำระเงิน
  • ผู้ขายอาจเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น ค่าธรรมเนียม COD
  • เงินเข้าช้า เพราะต้องรอขนส่งโอนกลับ

COD สามารถทำได้หรือไม่สำหรับการส่งต่างประเทศ | SME Shipping

COD (Cash on Delivery) สำหรับการส่งสินค้าต่างประเทศ ทำได้หรือไม่?

ในทุกวันนี้ที่การขายสินค้าบนโลกออนไลน์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ผู้ให้บรการเจ้าต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดส่ง การบรรจุ และการชำระเงิน ซึ่งหนึ่งในวิธีการชำระเงินที่ได้รับความนิยมในตลาดภายในประเทศคือ “COD” ที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อว่าสินค้าจะมาถึงก่อนจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดถึงการส่งสินค้าระหว่างประเทศ/ต่างประเทศ หลายคนอาจสงสัยว่า COD ยังสามารถใช้ได้อยู่หรือไม่? แล้วมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้บ้าง? ในบทความนี้ของ SME Shipping จะพาคุณไปดูรายละเอียดของ “COD” หรือ “Cash on Delivery” ที่ควรรู้กัน

บริการเก็บเงินปลายทาง (COD) คืออะไร?

COD (Cash on Delivery) คือบริการชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า เหมาะสำหรับลูกค้าที่ต้องการความมั่นใจก่อนจ่ายเงิน โดยลูกค้าจะชำระค่าสินค้าให้กับพนักงานจัดส่ง ในขณะที่รับพัสดุที่หน้าบ้าน หรือจุดรับสินค้า ซึ่งหลังจากลูกค้าชำระเงินเรียบร้อยแล้ว บริษัทขนส่งจะดำเนินการโอนเงินกลับมายังร้านค้าหรือผู้ขายตามรอบการโอนที่กำหนดในแต่ละบริษัท

  • C = Cash = เงินสด | O = On = เมื่อ | D = Delivery = มีการจัดส่ง
  • COD (Cash on Delivery) เก็บเงินเมื่อส่งสินค้าแล้ว

เหตุผลที่ COD มักไม่ใช้กับการส่งสินค้าต่างประเทศ

แม้ว่าบริการเก็บเงินปลายทาง (COD) จะได้รับความนิยมอย่างมากในการซื้อขายภายในประเทศ เนื่องจากช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและกระตุ้นยอดขาย แต่เมื่อพูดถึงการจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ ระบบ COD กลับไม่ค่อยถูกนำมาใช้ หรือมีข้อจำกัดอย่างมาก ทั้งจากมุมมองของความปลอดภัย ความซับซ้อนด้านธุรกรรมระหว่างประเทศ และข้อกำหนดของบริษัทขนส่งระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภาษี ศุลกากร และขั้นตอนทางการเงินที่ซับซ้อนกว่าการขายภายในประเทศอย่างเห็นได้ชัด เช่น

  1. มีความเสี่ยงด้านการชำระเงินที่ผู้ให้บริการขนส่งไม่สามารถรับประกันได้ว่าผู้รับในต่างประเทศจะจ่ายเงิน
  2. มีความซับซ้อนด้านภาษีและศุลกากร สินค้าที่ส่งข้ามประเทศมักต้องผ่านด่านศุลกากร ซึ่งทำให้การจัดการ COD ยาก
  3. การโอนเงินกลับมายังผู้ขายในประเทศต้นทางอาจใช้เวลานานและมีค่าธรรมเนียมสูง
  4. บริษัทขนส่งข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่รองรับ COD เช่น FedEx, DHL, UPS หรือไปรษณีย์ไทย (เมื่อส่งระหว่างประเทศ) มักไม่มีบริการ COD

ทางเลือกที่แนะนำแทน COD สำหรับการขายสินค้าระหว่างประเทศ

  1. ชำระเงินล่วงหน้าผ่านแพลตฟอร์มที่ปลอดภัย: เช่น PayPal, Stripe, Wise, หรือการโอนผ่านธนาคาร
  2. ขายผ่านแพลตฟอร์ม E-commerce ระดับโลก: เช่น Amazon, eBay, Etsy, Shopee Global ที่มีระบบคุ้มครองทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
  3. ใช้บริการ Payment Gateway ที่รองรับหลายสกุลเงิน: เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ข้อดีของบริการ COD

  • ลูกค้า มั่นใจ ว่าจะได้รับสินค้าก่อนจ่ายเงิน
  • เหมาะกับลูกค้าที่ ไม่มีบัตรเครดิต/เดบิต หรือไม่สะดวกโอนเงิน

ข้อเสียของบริการ COD

  •  มีความเสี่ยงที่ลูกค้า ปฏิเสธรับของ หรือ ไม่ชำระเงิน
  • ผู้ขายอาจเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น ค่าธรรมเนียม COD
  • เงินเข้าช้า เพราะต้องรอขนส่งโอนกลับ

COD (Cash on Delivery) สำหรับการส่งสินค้าต่างประเทศ ทำได้หรือไม่?

ในทุกวันนี้ที่การขายสินค้าบนโลกออนไลน์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ผู้ให้บรการเจ้าต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดส่ง การบรรจุ และการชำระเงิน ซึ่งหนึ่งในวิธีการชำระเงินที่ได้รับความนิยมในตลาดภายในประเทศคือ “COD” ที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อว่าสินค้าจะมาถึงก่อนจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดถึงการส่งสินค้าระหว่างประเทศ/ต่างประเทศ หลายคนอาจสงสัยว่า COD ยังสามารถใช้ได้อยู่หรือไม่? แล้วมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้บ้าง? ในบทความนี้ของ SME Shipping จะพาคุณไปดูรายละเอียดของ “COD” หรือ “Cash on Delivery” ที่ควรรู้กัน

บริการเก็บเงินปลายทาง (COD) คืออะไร?

COD (Cash on Delivery) คือบริการชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า เหมาะสำหรับลูกค้าที่ต้องการความมั่นใจก่อนจ่ายเงิน โดยลูกค้าจะชำระค่าสินค้าให้กับพนักงานจัดส่ง ในขณะที่รับพัสดุที่หน้าบ้าน หรือจุดรับสินค้า ซึ่งหลังจากลูกค้าชำระเงินเรียบร้อยแล้ว บริษัทขนส่งจะดำเนินการโอนเงินกลับมายังร้านค้าหรือผู้ขายตามรอบการโอนที่กำหนดในแต่ละบริษัท

  • C = Cash = เงินสด | O = On = เมื่อ | D = Delivery = มีการจัดส่ง
  • COD (Cash on Delivery) เก็บเงินเมื่อส่งสินค้าแล้ว

เหตุผลที่ COD มักไม่ใช้กับการส่งสินค้าต่างประเทศ

แม้ว่าบริการเก็บเงินปลายทาง (COD) จะได้รับความนิยมอย่างมากในการซื้อขายภายในประเทศ เนื่องจากช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและกระตุ้นยอดขาย แต่เมื่อพูดถึงการจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ ระบบ COD กลับไม่ค่อยถูกนำมาใช้ หรือมีข้อจำกัดอย่างมาก ทั้งจากมุมมองของความปลอดภัย ความซับซ้อนด้านธุรกรรมระหว่างประเทศ และข้อกำหนดของบริษัทขนส่งระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภาษี ศุลกากร และขั้นตอนทางการเงินที่ซับซ้อนกว่าการขายภายในประเทศอย่างเห็นได้ชัด เช่น

  1. มีความเสี่ยงด้านการชำระเงินที่ผู้ให้บริการขนส่งไม่สามารถรับประกันได้ว่าผู้รับในต่างประเทศจะจ่ายเงิน
  2. มีความซับซ้อนด้านภาษีและศุลกากร สินค้าที่ส่งข้ามประเทศมักต้องผ่านด่านศุลกากร ซึ่งทำให้การจัดการ COD ยาก
  3. การโอนเงินกลับมายังผู้ขายในประเทศต้นทางอาจใช้เวลานานและมีค่าธรรมเนียมสูง
  4. บริษัทขนส่งข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่รองรับ COD เช่น FedEx, DHL, UPS หรือไปรษณีย์ไทย (เมื่อส่งระหว่างประเทศ) มักไม่มีบริการ COD

ทางเลือกที่แนะนำแทน COD สำหรับการขายสินค้าระหว่างประเทศ

  1. ชำระเงินล่วงหน้าผ่านแพลตฟอร์มที่ปลอดภัย: เช่น PayPal, Stripe, Wise, หรือการโอนผ่านธนาคาร
  2. ขายผ่านแพลตฟอร์ม E-commerce ระดับโลก: เช่น Amazon, eBay, Etsy, Shopee Global ที่มีระบบคุ้มครองทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
  3. ใช้บริการ Payment Gateway ที่รองรับหลายสกุลเงิน: เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ข้อดีของบริการ COD

  • ลูกค้า มั่นใจ ว่าจะได้รับสินค้าก่อนจ่ายเงิน
  • เหมาะกับลูกค้าที่ ไม่มีบัตรเครดิต/เดบิต หรือไม่สะดวกโอนเงิน

ข้อเสียของบริการ COD

  •  มีความเสี่ยงที่ลูกค้า ปฏิเสธรับของ หรือ ไม่ชำระเงิน
  • ผู้ขายอาจเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น ค่าธรรมเนียม COD
  • เงินเข้าช้า เพราะต้องรอขนส่งโอนกลับ

COD (Cash on Delivery) สำหรับการส่งสินค้าต่างประเทศ ทำได้หรือไม่?

ในทุกวันนี้ที่การขายสินค้าบนโลกออนไลน์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ผู้ให้บรการเจ้าต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดส่ง การบรรจุ และการชำระเงิน ซึ่งหนึ่งในวิธีการชำระเงินที่ได้รับความนิยมในตลาดภายในประเทศคือ “COD” ที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อว่าสินค้าจะมาถึงก่อนจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดถึงการส่งสินค้าระหว่างประเทศ/ต่างประเทศ หลายคนอาจสงสัยว่า COD ยังสามารถใช้ได้อยู่หรือไม่? แล้วมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้บ้าง? ในบทความนี้ของ SME Shipping จะพาคุณไปดูรายละเอียดของ “COD” หรือ “Cash on Delivery” ที่ควรรู้กัน

บริการเก็บเงินปลายทาง (COD) คืออะไร?

COD (Cash on Delivery) คือบริการชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า เหมาะสำหรับลูกค้าที่ต้องการความมั่นใจก่อนจ่ายเงิน โดยลูกค้าจะชำระค่าสินค้าให้กับพนักงานจัดส่ง ในขณะที่รับพัสดุที่หน้าบ้าน หรือจุดรับสินค้า ซึ่งหลังจากลูกค้าชำระเงินเรียบร้อยแล้ว บริษัทขนส่งจะดำเนินการโอนเงินกลับมายังร้านค้าหรือผู้ขายตามรอบการโอนที่กำหนดในแต่ละบริษัท

  • C = Cash = เงินสด | O = On = เมื่อ | D = Delivery = มีการจัดส่ง
  • COD (Cash on Delivery) เก็บเงินเมื่อส่งสินค้าแล้ว

เหตุผลที่ COD มักไม่ใช้กับการส่งสินค้าต่างประเทศ

แม้ว่าบริการเก็บเงินปลายทาง (COD) จะได้รับความนิยมอย่างมากในการซื้อขายภายในประเทศ เนื่องจากช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและกระตุ้นยอดขาย แต่เมื่อพูดถึงการจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ ระบบ COD กลับไม่ค่อยถูกนำมาใช้ หรือมีข้อจำกัดอย่างมาก ทั้งจากมุมมองของความปลอดภัย ความซับซ้อนด้านธุรกรรมระหว่างประเทศ และข้อกำหนดของบริษัทขนส่งระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภาษี ศุลกากร และขั้นตอนทางการเงินที่ซับซ้อนกว่าการขายภายในประเทศอย่างเห็นได้ชัด เช่น

  1. มีความเสี่ยงด้านการชำระเงินที่ผู้ให้บริการขนส่งไม่สามารถรับประกันได้ว่าผู้รับในต่างประเทศจะจ่ายเงิน
  2. มีความซับซ้อนด้านภาษีและศุลกากร สินค้าที่ส่งข้ามประเทศมักต้องผ่านด่านศุลกากร ซึ่งทำให้การจัดการ COD ยาก
  3. การโอนเงินกลับมายังผู้ขายในประเทศต้นทางอาจใช้เวลานานและมีค่าธรรมเนียมสูง
  4. บริษัทขนส่งข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่รองรับ COD เช่น FedEx, DHL, UPS หรือไปรษณีย์ไทย (เมื่อส่งระหว่างประเทศ) มักไม่มีบริการ COD

ทางเลือกที่แนะนำแทน COD สำหรับการขายสินค้าระหว่างประเทศ

  1. ชำระเงินล่วงหน้าผ่านแพลตฟอร์มที่ปลอดภัย: เช่น PayPal, Stripe, Wise, หรือการโอนผ่านธนาคาร
  2. ขายผ่านแพลตฟอร์ม E-commerce ระดับโลก: เช่น Amazon, eBay, Etsy, Shopee Global ที่มีระบบคุ้มครองทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
  3. ใช้บริการ Payment Gateway ที่รองรับหลายสกุลเงิน: เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ข้อดีของบริการ COD

  • ลูกค้า มั่นใจ ว่าจะได้รับสินค้าก่อนจ่ายเงิน
  • เหมาะกับลูกค้าที่ ไม่มีบัตรเครดิต/เดบิต หรือไม่สะดวกโอนเงิน

ข้อเสียของบริการ COD

  •  มีความเสี่ยงที่ลูกค้า ปฏิเสธรับของ หรือ ไม่ชำระเงิน
  • ผู้ขายอาจเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น ค่าธรรมเนียม COD
  • เงินเข้าช้า เพราะต้องรอขนส่งโอนกลับ

COD (Cash on Delivery) สำหรับการส่งสินค้าต่างประเทศ ทำได้หรือไม่?

ในทุกวันนี้ที่การขายสินค้าบนโลกออนไลน์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ผู้ให้บรการเจ้าต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดส่ง การบรรจุ และการชำระเงิน ซึ่งหนึ่งในวิธีการชำระเงินที่ได้รับความนิยมในตลาดภายในประเทศคือ “COD” ที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อว่าสินค้าจะมาถึงก่อนจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดถึงการส่งสินค้าระหว่างประเทศ/ต่างประเทศ หลายคนอาจสงสัยว่า COD ยังสามารถใช้ได้อยู่หรือไม่? แล้วมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้บ้าง? ในบทความนี้ของ SME Shipping จะพาคุณไปดูรายละเอียดของ “COD” หรือ “Cash on Delivery” ที่ควรรู้กัน

บริการเก็บเงินปลายทาง (COD) คืออะไร?

COD (Cash on Delivery) คือบริการชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า เหมาะสำหรับลูกค้าที่ต้องการความมั่นใจก่อนจ่ายเงิน โดยลูกค้าจะชำระค่าสินค้าให้กับพนักงานจัดส่ง ในขณะที่รับพัสดุที่หน้าบ้าน หรือจุดรับสินค้า ซึ่งหลังจากลูกค้าชำระเงินเรียบร้อยแล้ว บริษัทขนส่งจะดำเนินการโอนเงินกลับมายังร้านค้าหรือผู้ขายตามรอบการโอนที่กำหนดในแต่ละบริษัท

  • C = Cash = เงินสด | O = On = เมื่อ | D = Delivery = มีการจัดส่ง
  • COD (Cash on Delivery) เก็บเงินเมื่อส่งสินค้าแล้ว

เหตุผลที่ COD มักไม่ใช้กับการส่งสินค้าต่างประเทศ

แม้ว่าบริการเก็บเงินปลายทาง (COD) จะได้รับความนิยมอย่างมากในการซื้อขายภายในประเทศ เนื่องจากช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและกระตุ้นยอดขาย แต่เมื่อพูดถึงการจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ ระบบ COD กลับไม่ค่อยถูกนำมาใช้ หรือมีข้อจำกัดอย่างมาก ทั้งจากมุมมองของความปลอดภัย ความซับซ้อนด้านธุรกรรมระหว่างประเทศ และข้อกำหนดของบริษัทขนส่งระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภาษี ศุลกากร และขั้นตอนทางการเงินที่ซับซ้อนกว่าการขายภายในประเทศอย่างเห็นได้ชัด เช่น

  1. มีความเสี่ยงด้านการชำระเงินที่ผู้ให้บริการขนส่งไม่สามารถรับประกันได้ว่าผู้รับในต่างประเทศจะจ่ายเงิน
  2. มีความซับซ้อนด้านภาษีและศุลกากร สินค้าที่ส่งข้ามประเทศมักต้องผ่านด่านศุลกากร ซึ่งทำให้การจัดการ COD ยาก
  3. การโอนเงินกลับมายังผู้ขายในประเทศต้นทางอาจใช้เวลานานและมีค่าธรรมเนียมสูง
  4. บริษัทขนส่งข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่รองรับ COD เช่น FedEx, DHL, UPS หรือไปรษณีย์ไทย (เมื่อส่งระหว่างประเทศ) มักไม่มีบริการ COD

ทางเลือกที่แนะนำแทน COD สำหรับการขายสินค้าระหว่างประเทศ

  1. ชำระเงินล่วงหน้าผ่านแพลตฟอร์มที่ปลอดภัย: เช่น PayPal, Stripe, Wise, หรือการโอนผ่านธนาคาร
  2. ขายผ่านแพลตฟอร์ม E-commerce ระดับโลก: เช่น Amazon, eBay, Etsy, Shopee Global ที่มีระบบคุ้มครองทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
  3. ใช้บริการ Payment Gateway ที่รองรับหลายสกุลเงิน: เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ข้อดีของบริการ COD

  • ลูกค้า มั่นใจ ว่าจะได้รับสินค้าก่อนจ่ายเงิน
  • เหมาะกับลูกค้าที่ ไม่มีบัตรเครดิต/เดบิต หรือไม่สะดวกโอนเงิน

ข้อเสียของบริการ COD

  •  มีความเสี่ยงที่ลูกค้า ปฏิเสธรับของ หรือ ไม่ชำระเงิน
  • ผู้ขายอาจเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น ค่าธรรมเนียม COD
  • เงินเข้าช้า เพราะต้องรอขนส่งโอนกลับ

COD (Cash on Delivery) สำหรับการส่งสินค้าต่างประเทศ ทำได้หรือไม่?

ในทุกวันนี้ที่การขายสินค้าบนโลกออนไลน์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ผู้ให้บรการเจ้าต่างๆ ต่างงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้า เริ่มตั้งแต่การจัดส่ง การบรรจุ และการชำระเงิน ซึ่งหนึ่งในวิธีการชำระเงินที่ได้รับความนิยมในตลาดภายในประเทศคือ “COD” ที่ช่วยเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อว่าสินค้าจะมาถึงก่อนจ่ายเงิน อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดถึงการส่งสินค้าระหว่างประเทศ/ต่างประเทศ หลายคนอาจสงสัยว่า COD ยังสามารถใช้ได้อยู่หรือไม่? แล้วมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขอะไรที่ต้องรู้บ้าง? ในบทความนี้ของ SME Shipping จะพาคุณไปดูรายละเอียดของ “COD” หรือ “Cash on Delivery” ที่ควรรู้กัน

บริการเก็บเงินปลายทาง (COD) คืออะไร?

COD (Cash on Delivery) คือบริการชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า เหมาะสำหรับลูกค้าที่ต้องการความมั่นใจก่อนจ่ายเงิน โดยลูกค้าจะชำระค่าสินค้าให้กับพนักงานจัดส่ง ในขณะที่รับพัสดุที่หน้าบ้าน หรือจุดรับสินค้า ซึ่งหลังจากลูกค้าชำระเงินเรียบร้อยแล้ว บริษัทขนส่งจะดำเนินการโอนเงินกลับมายังร้านค้าหรือผู้ขายตามรอบการโอนที่กำหนดในแต่ละบริษัท

  • C = Cash = เงินสด | O = On = เมื่อ | D = Delivery = มีการจัดส่ง
  • COD (Cash on Delivery) เก็บเงินเมื่อส่งสินค้าแล้ว

เหตุผลที่ COD มักไม่ใช้กับการส่งสินค้าต่างประเทศ

แม้ว่าบริการเก็บเงินปลายทาง (COD) จะได้รับความนิยมอย่างมากในการซื้อขายภายในประเทศ เนื่องจากช่วยสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและกระตุ้นยอดขาย แต่เมื่อพูดถึงการจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ ระบบ COD กลับไม่ค่อยถูกนำมาใช้ หรือมีข้อจำกัดอย่างมาก ทั้งจากมุมมองของความปลอดภัย ความซับซ้อนด้านธุรกรรมระหว่างประเทศ และข้อกำหนดของบริษัทขนส่งระหว่างประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภาษี ศุลกากร และขั้นตอนทางการเงินที่ซับซ้อนกว่าการขายภายในประเทศอย่างเห็นได้ชัด เช่น

  1. มีความเสี่ยงด้านการชำระเงินที่ผู้ให้บริการขนส่งไม่สามารถรับประกันได้ว่าผู้รับในต่างประเทศจะจ่ายเงิน
  2. มีความซับซ้อนด้านภาษีและศุลกากร สินค้าที่ส่งข้ามประเทศมักต้องผ่านด่านศุลกากร ซึ่งทำให้การจัดการ COD ยาก
  3. การโอนเงินกลับมายังผู้ขายในประเทศต้นทางอาจใช้เวลานานและมีค่าธรรมเนียมสูง
  4. บริษัทขนส่งข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่รองรับ COD เช่น FedEx, DHL, UPS หรือไปรษณีย์ไทย (เมื่อส่งระหว่างประเทศ) มักไม่มีบริการ COD

ทางเลือกที่แนะนำแทน COD สำหรับการขายสินค้าระหว่างประเทศ

  1. ชำระเงินล่วงหน้าผ่านแพลตฟอร์มที่ปลอดภัย: เช่น PayPal, Stripe, Wise, หรือการโอนผ่านธนาคาร
  2. ขายผ่านแพลตฟอร์ม E-commerce ระดับโลก: เช่น Amazon, eBay, Etsy, Shopee Global ที่มีระบบคุ้มครองทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
  3. ใช้บริการ Payment Gateway ที่รองรับหลายสกุลเงิน: เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ข้อดีของบริการ COD

  • ลูกค้า มั่นใจ ว่าจะได้รับสินค้าก่อนจ่ายเงิน
  • เหมาะกับลูกค้าที่ ไม่มีบัตรเครดิต/เดบิต หรือไม่สะดวกโอนเงิน

ข้อเสียของบริการ COD

  •  มีความเสี่ยงที่ลูกค้า ปฏิเสธรับของ หรือ ไม่ชำระเงิน
  • ผู้ขายอาจเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น ค่าธรรมเนียม COD
  • เงินเข้าช้า เพราะต้องรอขนส่งโอนกลับ